การจัดการการตลาดแนวใหม่

Custom Search
วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553

The balanced scorecard

แนวความคิดหลัก
หลักการพื้นฐานของ the balance scorecard เพื่อใช้ในการวัดค่าการปฏิบัติงานโดยรวม เพื่อทำการติดตามผลของและปรับเปลี่ยนกลยุทธในเชิงธุรกิจ. ในการเพิ่มมุมมองทางด้านการเงิน. ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้ผู้บริหารทั้งหลายเกิดการร่วมมือเพื่อให้เกิดทรรศคติของลูกค้า, ทางด้านการปฏิบัติงาน และ นวัตกรรมใหม่เกี่ยวกับองค์กร และ ด้านความสามารถในการรับรู้สิ่งใหม่ๆ
The balanced scorecard จะทำให้เกิดความเป็นไปได้ในการมองเห็นผลสรุปทางด้านการเงิน ของการวัดค่าไม่ได้ทางด้านการเงิน ซึ่งจะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดความสำเร็จทางการเงินในระยะยาว
• มีความสำคัญอย่างไรต่อผู้ร่วมลงทุน
• ลูกค้าทั้งหลายจะรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานของเราได้อย่างไร
• กระบวนการทำงานภายในสามารถเพิ่มมูลค่าได้หรือ ?
• เรามีการปรับปรุง และพร้อมสำหรับอนาคตใช่มั้ย ?

เมื่อไหรจะนำไปใช้
การวัดค่า the balance scorecard ขึ้นอยู่กับความเป็นจริงของบริษัท. สำหรับแต่ละมุมมอง, เราได้มีการ
รายการที่ไม่ละเอียดมากของตัวอย่าง.

ทรรศนคติทางด้านการเงิน
กลยุทธสำหรับทางเลือกของบริษัท, เครื่องมือที่ใช้ และ การบริหารงาน จะเป็นตัวที่สนับสนุนที่ดีที่สุด
• รายได้จากการปฏิบัติงาน
• ROI, ROCE, EVA ( ผลตอบแทนต่างๆ )
• การขาย และ การเติบโตทางด้านรายรับ
• การขายแบบซ้ำๆ ขณะที่ ผลประโยชน์ของจำนวนทั้งหมดของการขาย
• ผลิตภัณฑ์ / ลูกค้า / ช่องทางของผลประโยชน์
• รายได้ ต่อหน่วย / ตัน / ลูกค้า / พนักงาน
• ต้นทุนต่อหน่วย
• ขาย ต้นทุน ขณะที่ผลประโยชน์ของจำนวนทั้งหมดของการขาย

ทรรศนคติของลูกค้า
ความพยายามที่จะทำของเรามีมากเท่าไร ขณะที่พิจรณาทางด้านการบริการ และ ผลกระทบของความพึงพอใจของลูกค้าเป็นส่วนสำคัญที่สุดใช่ หรือไม่ ?
• เป้าหมายในส่วนแบ่งทางการตลาด
• การพัฒนาทางด้านธุรกิจของลูกค้าเพื่อความอยู่รอด
• ความสามารถในการทำกำไรของลูกค้า
• ช่วงเวลา และ ความเสียหาย จากการส่งมอบอย่างอิสระ
• การตอบสนองต่อนโยบาย
• การจัดการเกี่ยวกับการร้องเรียน
• การจัดการเกี่ยวกับทางด้านการบริการ
ทรรศนคติเกี่ยวกับกระบวนการภายใน
ประสบความสำเร็จได้อย่างไร ในการจัดระบบบริษัท และ กระบวนการบริหารเชิงธุรกิจเพื่อรองรับกับปริมาณความต้องการของลูกค้าในอนาคต และบริการในการส่งมอบ
• ยอดขายใหม่ ขณะที่ประโยชน์สูงสุดจากยอดขาย
• มีการประชุถึงเป้าหมายของผลิตภัณฑ์
• วงจรการพัฒนาผลิตภัณฑ์
• ตะหนักถึงจุดเวลาที่สมดุล

การเรียนรู้ และ เสริมสร้างการเติบโต
เรามีหลักการบริหารอย่างสำเร็จ , การพัฒนา และฝึกอบรมจากฝ่ายพัฒนาบุคคล , ความรู้ และระบบการการ ทำงาน
• รายได้ และ / หรือ การเพิ่มคุณค่าให้แก่พนักงาน
• กลยุทธที่ซับซ้อนในทักษะของงาน
• มีการเรียกฝึกอบรมพนักเพื่อเพิ่มความเข้าใจ
• มีแนวความคิดใหม่
• มีการแจ้งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ที่เกี่ยวกับการใช้งาน

การวิเคราะห์ขั้นสุดท้าย

ไม่มีอะไรใหม่เกี่ยวข้องกับการวัดทางด้านการเงิน, Kaplan และ Norton สามารถให้ความน่าเชื่อถือสำหรับค่าความสมดุลที่มีผลกระทบสำหรับการวัดค่าเหล่านี้. CEO ผู้มีความสัมพันธ์อย่างมากในด้านที่เกียวข้องกับทางการเงิน ดังนั้นจึงต้องมีการปรึกษากับผู้ช่วยทางการตลาด. ที่ระดับต่ำกว่าในองค์กร , เป็นคนที่มีความชอบมากกว่าการวัดค่าด้วยเงิน

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การจัดการการเงิน